ภาษาอังกฤษในปัจจุบันมีบทบาทสำคัญมากในการสื่อสาร ซึ่งการสื่อสารภาษาอังกฤษนั้นเราจะสื่อสารกันเป็นประโยค ซึ่งในประโยคนั้นจะประกอบไปด้วยภาคประธานและภาคแสดง แต่ก่อนที่จะมาเป็นประโยคได้สักหนึ่งประโยคนั้นเราต้องรู้จำคำ วลี และอนุประโยค เพราะส่วนเหล่านี้เป็นที่มาของการสร้างประโยค และเมื่อเกิดเป็นประโยคแล้วเราก็สามารถนำไปใช้ในการสื่อสารให้ชาวต่างชาติเข้าใจได้ ซึ่งประโยคจะแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ Simple sentence คือ ประโยคที่มีโครงสร้างอย่างง่าย, Compound sentence คือ ประโยคที่มีตั้งแต่สอง independent clause ขึ้นไป, complex sentence คือ ประโยคที่มีเพียงหนึ่ง independent clause เท่านั้น แต่จะมี dependent clause หนึ่ง clause หรือมากกว่าหนึ่งมาเป็นส่วนขยาย และชนิดที่ 4 คือ Compound-complex sentence คือ ประโยคที่มีตั้งแต่สอง indenpent clauses ขึ้นไป และมี dependent clause ตั้งแต่หนึ่ง clause ขึ้นไป ซึ่งการเรียนรู้ในห้องเรียนในสัปดาห์จะเป็นเรื่องของ If-clause ซึ่ง If-clause มาจากประโยคชนิด complex sentence
ก่อนจะพูดถึง If-Sentence หรือประโยคเงื่อนไข ควรทำความรู้จักกับ Mood
ซึ่งหมายถึงลักษณะการพูดไปตามอารมณ์ของผู้พูดโดยในทางไวยากรณ์ภาษาอังกฤษสามารถแบ่ง Mood
ได้เป็น 3 รูปแบบ
คือ 1.Indicative Mood ( การพูดเกี่ยวกับความจริง )
ได้แก่
คำพูดที่เกี่ยวกับการบอกและการถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง 2.Imperative Mood ( การพูดแสดงการออกคำสั่ง )
เป็นคำพูดที่เกี่ยวกับการออกคำสั่งหรือคำขอร้องต่าง ๆ 3.Subjunctive Mood ( การพูดเกี่ยวกับความไม่จริง )
การพูดเกี่ยวกับความไม่จริงมีอยู่
2 รูปแบบ คือ
การพูดที่ผู้พูดรู้แล้วว่าตรงข้ามกับความเป็นจริง และการที่ผู้พูดอยากจะให้ความจริง ซึ่ง Mood เหล่านี้ก็มีความเกี่ยวข้องกับประโยคเงื่อนไข ( If-Sentence )
ซึ่งเป็นประโยคที่ผู้พูดสมบัติหรือคาดเดาว่า
ถ้ามีเหตุการณ์อย่างหนึ่งเกิดขึ้นก็จะมีผลอีกอย่างหนึ่งตามมา ประโยคเงื่อนไขว่า “ประโยค If-clause” ซึ่งประโยคเงื่อนไขเกิดจาก 2
ส่วนมารวมกัน คือ ส่วนที่เป็นเหตุ ( If-clause ) และส่วนที่เป็นผล ( Principle Clause ) ตามปกติจะวาง
If ไว้ต้นประโยค จึงทำให้ต้องมีเครื่องหมาย comma ( , ) คั่นไว้
แต่ถ้าวาง If ไว้กลางประโยคไม่ต้องมี comma ( , ) คั่น แบ่งออกได้เป็น 4
เงื่อนไข คือ Real
Condition, Impossible Condition,
Possible Condition และ Unreal
Condition ( ไพบูลย์
เปียศิริ : 335 )
If-Clause
เงื่อนไขที่ 1
เป็นเงื่อนไขที่ใช้ในการสมมติหรืออธิบายเงื่อนไขที่เป็นไปได้หรือเป็นจริง โดยมีโครงสร้างดังนี้ If
+ Present Simple,
Subject + will
+ V1 หรือ Subject +
will + V,
+ if +
Present Simple. ถ้าวาง if-clause ไว้หน้าประโยค main
clause จะใส่ comma
( , )
คั่นแต่ถ้าวาง if-clause ไว้หลัง main
clause จะไม่มี comma
มาคั่นระหว่างประโยค
เช่น If she tries hard,
she will succeed.
( ถ้าเธอพยายามอย่างหนัก
เธอก็จะประสบความสำเร็จ ) If it rains, I will stay
at home. (
ถ้าฝนตกฉันจะพักอยู่ที่บ้าน ) You may
come if you like ( คุณจะมาก็ได้ถ้าอยากจะมา )
You won’t pass unless you work hard. ( คุณจะสอบไม่ผ่านถ้าไม่เรียนอย่างหนัก )
If we don’t
pay our workers
well, it will
be difficult to
attract good workers.
( ถ้าพวกเราไม่จ่ายค่าจ้างให้ลูกจ้างสูง มันคงยากที่จะดึงดูดลูกจ้างที่มีฝีมือ ) If
she studies diligently,
she will pass
the exam. (
ถ้าหล่อนเรียนอย่างขยันขันแข็ง
หล่อนจะสอบผ่าน ) You will
be punished if
you don’t come
to school. ( คุณจะถูกลงโทษถ้าไม่มาโรงเรียน
) We will
increase our work
if we don’t
do it today.
( พวกเราจะเพิ่มงานมากขึ้นถ้าไม่ทำในวันนี้ )
If-clause
เงื่อนไขที่ 2
ใช้สมมติในสิ่งที่ไม่เป็นความจริงหรือแม้จะเป็นจริงได้ก็ห่างไกลหรือใช้เวลานาน โดยมีโครงสร้างดังนี้ If
+ past simple,
subject + would +V1 หรือ Subject +
would + V1
+ if +
past simple เช่น If
I had a
lot of money,
I would help
the poor. ( ถ้าผมมีเงินจำนวนมากผมจะช่วยเหลือคนจน ) ในความเป็นจริงตอนนี้เขาไม่ได้มีเงินมาก จึงเป็นสิ่งที่ตรงข้ามเป็นจริงในปัจจุบัน If
I were a
millionaire, I would
buy a Ferrari
car. ( ถ้าฉันเป็นมหาเศรษฐีฉันจะซื้อรถเฟอร์รารี่สักคัน
)
ในความเป็นจริงตอนนี้เขาไม่ได้เป็นมหาเศรษฐี
ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่ตรงข้ามกับความจริงในปัจจุบัน If
I were you,
I would travel
around the world.
( ถ้าผมเป็นคุณผมตะท่องเที่ยวไปรอบโลกเลย ) ในความจริงเขาเป็นตัวเขา ไม่สามารถเป็นคนอื่นได้
ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่ตรงข้ามความเป็นจริงในปัจจุบัน หมายเหตุ
: ในเงื่อนไขที่ 2
จะใช้ past continuous
tense ( If +
Subject + was / were
+ Ving X หรือ would
แทน past simple
ก็ได้ เช่น if
the sun was
shihing, everything would
be perfect. (
ถ้าพระอาทิตย์ส่องแสงทุกอย่างก็จะสมบูรณ์ )
If I could
help you, I
would, but I’m
afraid I can’t.
( ถ้าผมสามารถช่วยคุณได้
ผมก็จะช่วยแต่เกรงว่าผมจะทำไม่ได้ )
If-clause เงื่อนไขที่ 3
ใช้กับการสมมติเป็นไปไม่ได้หรือตรงข้ามกับความเป็นจริง โดยมีโครงสร้างดังนี้ If
+ Past Perfect,
Subject + would
have … หรือ Subject +
would have …
+ if +
Past Perfect เช่น If
susan had known
Paul first, she would not
have fallen in
love with Ken. ( ถ้าซูซานได้รู้จักพอลก่อน
หล่อนจะไม่ตกหลุมรักเคน )
ในความจริงซูซานไม่ได้รู้จักพอลก่อนในอดีต
จึงเป็นสิ่งที่ตรงข้ามกับความเป็นจริงในอดีต If
I had had
a lot of
cash in 1998,
I would have
bought many cheap
houses. (
ถ้าฉันมีเงินสดมากในปี 1998 ฉันจะซื้อบ้านราคาถูกหลายหลังทีเดียว ) ในความเป็นจริงเขาไม่ได้มีเงินสดมากในปี 1998
จึงเป็นสิ่งตรงข้ามกับความจริงในอดีต
If you had
taken a taxi,
you would have
got there in
time. (
ถ้าคุณไปโดยแท็กซี่คุณจะไปถึงที่นั่นทันเวลา )
ในความจริงเขาไม่ได้ไปโดยแท็กซี่
จึงเป็นสิ่งตรงข้ามกับความเป็นจริงในอดีต
If we had
paid our workers
better, they wouldn’t
have left the
company. (
ถ้าพวกเราจ่ายค่าจ้างให้คนงานดีกว่านี้
พวกเขาจะไม่ไปจากบริษัท ) If I had been
hungry, I would
have eaten something.
( ถ้าผมหิว ผมจะทานอะไรสักอย่าง )
If-clause
เงื่อนไขที่ 4 เป็น clause ที่แสดงการสมมติที่เป็นสากล ( universal ) ซึ่งหมายถึงว่าเมื่อสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น สิ่งที่เกิดตามก็จะคล้าย ๆ กัน และใช้โครงสร้างเป็น tense
เดียวกันดังนี้ If present
simple, Present Simple
หรือ Subject + V1 +
if + Subject
+ V1 เช่น If
you beat iron,
it expands. ( ถ้าคุณตีเหล็ก มันก็จะขยายตัว ) If
the doorbell rings,
the dog barks.
( ถ้ากระดิ่งที่ประตุดังขึ้นหมาตัวนี้ก็จะเห่า ) If
the company pays
well, it attracts good
workers. (
ถ้าบริษัทจ่ายค่าจ้างอย่างงาม
มันจะดึงดูดลูกจ้างที่มีฝีมือได้ )
*บริษัทไหนจ่ายอย่างนี้ผลที่เกิดก็จะคล้าย ๆ กัน If
temperature reaches 100 °C, water starts
to boil. ( ถ้าอุณหภูมิสูงถึง 100
องศาเซลเซียส
น้ำจะเริ่มต้นเดือด หมายเหตุ **
1.ถ้าเงื่อนไขที่ไม่เป็นจริงมาหลัง
main clause ห้ามใช้ unless
แต่ให้ใช้ if เช่น The
horse fell. If
it hadn’t fallen,
it would have
won the race. ( ม้าล้มถ้ามันไม่หกล้มไปก่อน
มันจะชนะการแข่งขัน )
การแข่งขันจบแล้ว
ดังนั้นจึงเป็นไปไม่ได้ที่ม้าตัวหกล้มจะชนะ
2.ไม่ใช่
unless กับการพูดถึงความรู้สึก
ซึ่งเป็นผลมาจากบางอย่างที่ไม่ได้เกิดขึ้น
เช่น I shall
be very surprised
if it doesn’t
rain. (
ผมจะแปลกใจเป็นอย่างมากถ้าฝนไม่ตก ) 3.As long
as, provided ( that
), on the
condition ( that
) ใช้เหมือน if
ที่เป็นประโยคเงื่อนไข
โดยใช้ในการสร้างเงื่อนไขที่
1 และ 2 เช่น I
don’t mind you
using my bike
provided ( that
) you take
care of it. ( ผมไม่ว่าอะไรหรอกหากคุณจะใช้จักรยานของผม ถ้าคุณดูแลมันสักหน่อย ) 4.Should, Were
… to และ Had
ใช้สร้างประโยคเงื่อนไขแทน
if โดยที่ Should
ใช้วางไว้หน้า clause สร้างเงื่อนไขที่ 1,
Were … to ใช้วางไว้หน้า clause สร้างเงื่อนไขที่ 2
และ Had ใช้วางหน้า clause
สร้างเงื่อนไขที่
3 เช่น Should the
supplier fail to
driver on time,
a penalty clause
would be applied.
( ถ้าลูกค้าไม่จ่ายทันเวลา
การลงโทษก็จะถูกนำมาใช้บังคับ ) Were the
supplier to deliver late,
the penalty clause
would be applied.
( ถ้าลูกค่าไม่จ่ายทันเวลา
บทลงโทษก็จะถูกนำมาใช้ ) Had the
customer refused to
accept the goods,
we would have
terminated the contract. (
ถ้าลูกค้าปฏิเสธที่จะรับสินค้า
พวกเราจะให้สัญญาสิ้นสุด )
5.In case, in ( the ) case of,
in the event
that เป็นเงื่อนไขที่กล่าวถึงเหตุการณ์ในอนาคต และใช้ในเงื่อนไขที่ 1
ส่วน in ( the ) case
of และ in
the event of ใช้กับ noun phrase
เช่น Customers are
reminded to keep
proof of purchase
in case they
wish to make
a complaint. (
ลูกค้าถูกเตือนให้ตรวจสอบการซื้อ ในกรณีที่พวกเขาอยากทำการฟ้องร้อง
) In the
event of loss,
you must get
a certificate from
the police. (
ในกรณีที่ของสูญหาย
คุณต้องเอาใบรับรองจากตำรวจมาแสดง
5.ใช้ were กับประธานทุกตัวสำหรับเงื่อนไขที่ไม่เป็นจริง เช่น If I were you,
I would marry
her. (
ถ้าผมเป็นคุณ ผมจะแต่งงานกับหล่อน ) ผมเป็นคุณไม่ได้ เพราะคนละคนกัน
จากการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียนจำนวน 10
ข้อ เรื่อง If-clause ข้อ 1) If I
were you, I
would go to
work upcountry. ( ถ้าฉันเป็นคุณ
ฉันจะไปทำงานที่ชนบท ) เป็น if-clause
แบบที่ 2 คือ Present unreal
ข้อ 2) If
I had enough
money, I would
marry my girlfriend,
But right now,
I am very
poor. (
ถ้าฉันมีเงินพอ
ฉันจะแต่งงานกับแฟนของฉัน
แต่ตอนนี้ฉันจนมาก ) เป็น If-clause แบบที่ 2 Present unreal
ข้อนี้มีข้อสังเกตชัดเจน
คือ But right
now, I am
very poor. เป็นการบอกให้รู้ ณ
ตอนนี้ฉันจนมาก
ฉะนั้นสิ่งที่เขาคิดเป็นปัจจุบัน
แต่กำลังมโนภาพไปเอง ข้อที่ 3) If it
rains, I will
not go shopping. ( ถ้าฝนตก
ฉันจะไม่ไปซื้อของ ) เป็น If-clause แบบที่ 1 Present real ข้อ 4) If
he had had
20,000 Bath last
year, he would
have been graduafed
form the medical
school by now
or he would have finished.
( ถ้าเขามีเงิน 200,000 บาท เมื่อปีที่แล้ว เขาคงจะได้รับปริญญาจากวิทยาลัยการแพทย์ในตอนนี้ หรือเขาอาจจงไปแล้ว ) เป็น If-clause แบบที่ 3 Past unreal
แบบฝึกหัด if-clause ข้อที่ 5) If you
are the last
person to leave
the room, please
turn off the
elecfric fan. ( ถ้าคุณเป็นคนสุดท้ายที่ออกจากห้อง กรุณาปิดพัดลมด้วย ) เป็น
If-clause แบบที่ 1 Present real เป็นการสมมติที่เป็นไปได้
และเป็นจริง ข้อ 6) If you
want to make
merit, I recommend
that you conate
the money to
the Saijaithai Foundation.
( ถ้าคุณต้องการทำบุญ ฉันขอแนะนำให้บริจาคเงินกับมูลนิธิสายใจไทย
) เป็น
If-clause แบบที่ 1 Present real ข้อ 7) If
my sister gets
all A’ in
her examination, I
will give her
a gold bracelet.
( ถ้าน้องสาวของฉันได้เกรด
A ทุกวิชาในการสอบครั้งนี้ ฉันจะให้กำไลทองแก่หล่อน ) เป็น If-clause แบบที่ 1 Present real ข้อ 8) If
you have toothache
often, you should
go to see
a dentist. ( ถ้าคุณมีอาการปวดฟันบ่อย ๆ
คุณควรจะไปให้หมอฟันตรวจ ) เป็น If-clause
แบบที่ 1 Present real ข้อ 9) If
I had a
beautiful Daughter, I
would not allow
her to enter
the beauty contest. ( ถ้าฉันมีลูกสาวสวย
ฉันจะไม่อนุญาตให้ไปประกวดเวทีคนสวย )
เป็น If-clause แบบที่ 2 Present unreal
เป็นคำพูดในปัจจุบัน
ซึ่งไม่เป็นความจริงเพราะเขาไม่ได้มีลูกสาวสวย ข้อ
10) If he
had not had
a canner, he
would not have
committed suicide last
month. (
ถ้าเขาไม่เป็นมะเร็ง
เขาคงไม่ฆ่าตัวตายเมื่อเดือนที่แล้ว )
เป็น If-clause แบบที่ 2 Present unreal
การทำแบบฝึกหัดเรื่อง If-clause ทำให้เข้าใจเรื่อง If-clause มากขึ้น แต่พบปัญหาในเรื่องคำศัพท์ในประโยค If-clause เพราไม่ทราบความหมายของคำศัพท์บางคำ จึงทำให้ไม่สามารถแปลประโยคได้ และต้องไปฝึกฝนเรื่องคำศัพท์เพิ่มเติม ซึ่งในระดับมหาวิทยาลัยควรมีคลังคำศัพท์ขั้นต่ำ 5,000
คำ จึงจะสามารเรียนภาอังกฤษได้ดี คำศัพท์จะแบ่งออกเป็น 2
แบบ คือ คำศัพท์
active คือ คำศัพท์ที่ใช้บ่อย ๆ และคำศัพท์ passive คือ คำศัพท์เฉพาะใช้ไม่บ่อย เช่น
ศัพท์แพทย์ ศัพท์นักกฎหมาย อาจารย์อนิรุธ
ชุมสวัสดิ์
จึงแนะนำเว็บไซต์เกี่ยวกับการทดสอบคลังคำศัพท์ว่าเรามีความรู้เรื่องคำศัพท์มากน้อยแค่ไหน นั่นคือ www.vocabularysize.com ซึ่งมี Paul
Nation เป็นคนคิดเว็บไซต์ขึ้นมา
ฉะนั้นจะเห็นได้ว่าคำศัพท์ภาษอังกฤษมีอิทธิพลมากในการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นการพูดเสนอ การเขียนบทความ การอ่านบทความ
การฟังต่าง ๆ
เพราะคำศัพท์เป็นหัวใจสำคัญที่จะทำให้เราสื่อสารกับชาวต่างชาติได้เข้าใจ และ Phonetic ก็เป็นส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งที่เป็นการเน้นเสียงคำศัพท์ว่าจะเป็นการเน้นหนักหรือเบาในพยางค์ไหน
เพราะหากเราออกเสียงผิดก็จะทำให้ความหมายของคำศัพท์เปลี่ยนแปลงไปเลย แต่ไวยากรณ์ไม่ค่อยมีบทบาทเท่าไรนักสำหรับการพูดภาษาอังกฤษ แต่ถ้าเป็นการเขียนไวยากรณ์ เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้งานเขียนถูกต้องสมบูรณ์ ดังนั้นเราควรมีคลังคำศัพท์ให้เยอะ เพื่อจะได้สนทนากับชาวต่างชาติได้
แต่ถ้าให้ดีควรมีความรู้เรื่องไวยากรณ์ควบคู่ไปด้วย
การเรียนรู้ในห้องเรียนในสัปดาห์นี้ เรื่อง
If-clause
ทำให้เข้าใจมากขึ้น
และสามารถแยกออกได้ว่า If-clause แบบไหนเป็น present real,
Present unreal, Past
unreal ซึ่งสิ่งที่เรียนรู้ในห้องเรียนเหล่านี้มีความจำเป็นสำหรับการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยเป็นอย่างมาก
เพราะการแปลจะเป็นเครื่องมือในการสื่อสารอย่างหนึ่ง ซึ่งทำโดยการถ่ายทอดความหมายจากภาษาหนึ่งไปยังอีกภาษาหนึ่ง
ทั้งนี้การแปลนั้นเราต้องมีความรู้เรื่องคำศัพท์ ไวยากรณ์
และการเรียงลำดับคำให้ออกมาสละสลวย
และเข้าใจได้ง่าย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น