การใช้ภาษาอังกฤษนั้นเราต้องเข้าใจในส่วนของคำ วลี อนุประโยค และประโยคตามลำดับ จึงจะสามารถทำให้เราสื่อสารหรือสามารถแปลความหมายได้ หากเราเข้าใจสิ่งเหล่านั้น คำ วลี อนุประโยค และประโยคก็สามารถแบ่งได้เป็นหลายประเภท ซึ่งส่วนใหญ่มีความเกี่ยวโยงสัมพันธ์ด้วยกันทั้งนั้น ทั้งนี้เรียนวิชาการแปลต้องมีความรู้ในเรื่องการแปลความจากคำ วลี หรือประโยค และต้องมองประโยคให้ได้ว่าส่วนไหนเป็นภาคประธานหรือภาคแสดง เพราะบางประโยคมีการละหรือลดคำในประโยค อาทิเช่น Adjective clause
Adjective clause
เป็น subordinate
clause
ที่ทำหน้าที่เป็นเหมือนคำ
adjective คำหนึ่ง คือ
ทำหน้าที่ขยายคำนามและคำสรรพนาม
และบางครั้ง adjective clause
จะถูกเรียกว่า relative clause
เพราะใช้ relative pronoun
นำหน้าประโยค
เช่น Thomas married
a woman who works
in his office. ( who works in
his office เป็น adjective clause
ทำหน้าที่ขยาย a woman ที่อยู่หน้า โดยมี who
ซึ่งเป็น relative pronoun
นำหน้า adjective clause
The bell. Which hangs
in the library, is
over a hundred
years old ( which เป็น relative pronoun
นำหน้า adjective clause
คือ which hangs
in the library
และไปขยายคำนามที่อยู่ข้างหน้า คือ bell ( นเรศ สุรสิทธิ์, 2542 ซ 205 – 214 )
ในแต่ละประโยคของ Adjective clause จะมี relative pronoun
ปรากฏอยู่
ซึ่งมันคือ
คำสรรพนามที่ใช้เชื่อมประโยค subordinate clause
เข้ากับประโยค main clause
โดยให้เชื่อมหรือขยายคำนามหรือคำสรรนามที่วางอยู่ข้างหน้าประโยค subordinate clause
เข้ากับประโยค main clause
โดยให้เชื่อมหรือขยายคำนามหรือคำสรรนามที่วางอยู่ข้างหน้าประโยค adjective clause
ซึ่งจะมีคำเชื่อมที่ทำหน้าที่นำหน้าประโยคอยู่ 2
ชนิดด้วยกัน คือ Relative Pronoun
ได้แก่
การใช้แทนคนในกรณีที่เป็นประธาน Who
/ that กรณีที่เป็นกรรม whom / who / that กรณีที่เป็นส่วนขยาย Possessive :
whose การใช้แทนสิ่งของในกรณีที่เป็นประธาน which
that กรณีที่เป็นกรรม which
/ that กรณีที่เป็นส่วนขยาย Possessive :
whose / of which ประเภทที่ 2
คือ Relative Adverb
ได้แก่ Where, When,
Why
ตำแหน่งของ Relative clause 1. ประโยค relative clause
เมื่อใช้ขยายคำนามหรือคำสรรพนามตัวใดให้วางประโยค relative clause
ไว้หลังคำนั้นทันที
เช่น The man who lives next
color
is a teacher
( who lives
next door ขยายคำนาม man
ที่อยู่ข้างหน้า
ซึ่งบอกเราว่าใครที่อยู่ห้องถัดไป
เมื่อขยาย man จึงนำ who
lives next door ไปวางท้าย man ) ที่อยู่ข้างหน้า ซึ่งบอกเราว่าใครที่อยู่ห้องถัดไป เมื่อขยาย
man จึงนำ who
lives next door ขยายคำนาม man ที่อยู่ข้างหน้า ซึ่งบอกเราว่าใครที่อยู่ห้องถัดไป เมื่อขยาย
man จึงนำ who
lives next door ไปวางท้าย man ) 2. เมื่อใช้
relative pronoun แทนคำนามหรือคำสรรพนามในประโยคแล้ว ให้ตัดคำนามหรือสรรพนามที่ relative pronoun
ใช้แทนออกไป
เช่น John married
a woman who
works in his
office ( ถูก ) John
married a woman
who she works
in his office.
( ผิด )
ประโยคดังกล่าวมาจาก 2 ประโยคด้วยกัน
คือ John married
a woman. และ A
woman ( she ) works in
his office จากประโยคข้างต้นมีประธานเป็นคน คือ A woman หรือ she ใช้ who
แทนประธานคนแล้งตัดคำถาม
A woman หรือ she
ออก เพราะ who
ใช้แทนแล้ว
Relative
clause หรือ adjective clause
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ซึ่งทั้งสองชนิดจะแตกต่างกันตรงที่มี
comma ( ,
) และไม่มี comma
ดังนี้ 1. Defining relative
clause หรือ Restrictive clause คือ Adjective Claus ที่ทำหน้าที่ขยายคำนามหรือคำสรรพนามที่เป็น head
word ของประโยค main
clause โดยจะไม่ใส่ comma
มาคั่นระหว่าง adjective clause
และ head word เพราะคือว่า adjective clause
ชนิดนี้มีความสำคัญและจำเป็นกับประโยคหลัก โดยถ้าตัด
adjective clause ที่เป็น defining relative
clause ออกแล้วจะทำให้ความหมายของประโยคหลักไม่สมบูรณ์
Relative clause
ประเภทที่ 2. Non-Defining Relative
clause หรือ Nonrestirctive clause
คือ adjective clause
ที่วางไว้หลังคำนามหลักของประโยคหลัก ซึ่งคำนามที่
non-defining relative clause
ไปวางอยู่ด้านหลังนั้นมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเองอยู่แล้ว ดังนั้นการเพิ่ม non-defining relative
clause เข้าไปในประโยคหลักจึงไม่ได้หมายความว่าไปขยายคำนามหลักในประโยคหลักโดยตรง เพราะแม้ไม่มี
non-defining relative clause
มาขยายคำนามหลักก็ยังมีความหมายสมบูรณ์อยู่เช่นเคย แต่การใส่
non-defining relative clause
เข้ามาก็จะเป็นเพียงการเพิ่มข้อมูลเกี่ยวกับคำนามหลักเท่านั้น ดังนั้น
non-defining relative clause
จึงมี comma ( , ) คั่นกลางกับคำนามหลัก ( head
noun )
Relative Pronoun
ใช้กับคน (
เฉพาะ Defining Relative
Clause ) 1. Who
และ that เป็นประธานใช้ who
และ that แทนคนโดยใช้เป็นประธานของประโยค adjective clause
โดยอาจจะอยู่ในรูปโครงสร้าง
Subject + who / that
+ Verb 2
+ Verb 1 หรือ Subject +
Verb 1 + Who
/ that +
Verb 2 ( หมายเหตุ :
verb คือ กริยาตัวที่หนึ่ง, Verb
2 คือกริยาตัวที่สอง
) เช่น
I helped the
boy who came
to my house ( who เป็นประธานของประโยค adjective clause
ใช้แทน boy ซึ่งเป็นคำนามเอกพจน์ ดังนั้น
who จึงเป็นประธานเอกพจน์
) I thanked
the man that / who helped
me.
( that
และ who ใช้ตัวไหนก็ได้เพื่อให้เป็นประธานของประโยค adjective clause
โดยมีความหมายเหมือนกัน )
Relative Pronoun
ใช้กับคน (
เฉพาะ Defining Relative
Clause ) 2. Whom,
Who และ That
( เป็นกรรม ) ใช้ whom,
who หรือ that
เป็นกรรมของประโยค adjective clause
โดยใช้แทนคนรูปที่ใช้เป็นทางการจริง ๆ คือ whom
แต่ถ้าใช้ในภาษาพูดมักจะใช้
who และ that
แทน whom โดยการนำ whom,
who และ that
ที่อยู่ในรูปกรรมนี้วางไว้ต้นประโยค adjective clause
โดยจะวางคำ pronoun, whom,
who และ that
ไว้ใกล้กับคำนามที่ไปขยายมากที่สุด แต่ก็มีบางครั้งที่ whom,
who และ that
ที่อยู่ในรูปกรรมถูกละไว้ในฐานที่เข้าใจ โดยไม่ปรากฏในประโยค adjective clause
เลย
ส่วนโครงสร้างที่เห็นบ่อย ๆ คือ Subject 1
+ whom / who / that +
Subject 2 +
Verb 2 + Verb 1 เช่น The man
whom I saw
told me about
John หรือจะ whom
ก็ได้
Relative
Pronoun ใช้กับคน ( เฉพาะ
Defining Relative clause ) 3. Whom, Who และ That ( ใช้กับ preposition ) Preposition ที่ใช้กับ whom,
who และ that ในประโยค
adjective clause ถ้าเป็นการใช้แบบทางการจริง ๆ
แล้วจะวาง preposition ไว้หน้า whom,
who และ that
แต่ปัจจุบันนี้นิยมวาง preposition
ไว้ท้ายกริยาของประโยค
adjective clause หรือท้ายประโยค adjective clause
ส่วน relative pronoun
ที่นิยมนำ preposition วางไว้หน้า ปัจจุบันมีเพียง whom
และ which เช่น He
is the man. ( ประโยคหลัก ) I
told you about
him. ( adjective
clause ) =
He is the
man about whom I
told you. ( about เป็น preposition วางอยู่หน้า pronoun – him ซึ่ง him
เป็น pronoun ในประโยครองใช้แทนคำหลัก คือ the man เมื่อ him เป็นกรรมต้องเปลี่ยน him
เป็น whom ก่อน ส่วน about เป็น preposition วางไว้หน้า whom
รูปของ Preposition ใน Adjective Clause
จากประโยค a) He is
the man. b) I
told you about him. เมื่อรวมประโยค a และ b เข้าด้วยกันจะได้รูปดังนี้ 1) He is
the man about
whom
I told you. 2) He is
the man who / whom I told
you about. 3) He
is the man that I told
you about. 4) He
is the man
-- I told
you about. ( ละไว้ ) จากประโยค
a ) The man
left her after
a few days.
b) she fell
in love with him. เมื่อรวมประโยค a
และ b เข้าด้วยกันจะได้รูป ดังนี้
The man with whom
she fell in
love
left her after
a few days. จากประโยค a) The
woman is my
best friend. b) I
gave the car to her. เมื่อรวมประโยค a
และ b เข้าด้วยกันจะได้รูปดังนี้ The
woman to whom
I gave the
car
is my best
friend.
Relative Pronoun
ใช้กับคน (
เฉพาะ Defining Relative
Clause )
4. Whose ( แสดงความเป็นข้าวของ ) Whose
ใช้แสดงความเป็นเจ้าของและใช้กับคน โดยนำ whose +
noun วางไว้ต้นประโยค adjective clause
แต่จะละ whose
ไว้ในฐานที่เข้าใจเหมือน
whom / that / who ไม่ได้ โดยระลึกไว้เสมอว่า whose
มีความหมายเหมือนคำ pronoun แสดงความเป็นเจ้าของเหมือน his,
her, their, its เป็นต้น เช่น his
house whose
house her husband whose
husband เช่น I
saw the man whose car had
broken down. The film
is about a
spy whose wife
betrays him . The man whose watch
was stolen complained to
the police. I saw the student
whose
pen was stolen. The
player whose goal won
the game was
David James.
Relative Pronoun
ใช้กับสิ่งของ (
เฉพาะ Defining Relative
clause ) 1. Which
และ That ( ใช้เป็นประธาน ) ใช้แทนสิ่งของ
โดยที่ which และ that
จะคล้าย ๆ กับ who และ that
ที่ใช้เป็นประธานของประโยค
แต่แตกต่างกันที่ which และ that
ใช้กับสัตว์-สิ่งของ
และถ้าเปรียบเทียบระหว่าง which และ that
แล้ว which จะมีใช้มากกว่าและเป็นทางการมากกว่า that
แต่ที่ต้องว่าคือ which
และ that ถ้าแทนคำถามที่เป็นเยาพจน์หรือพหูพจน์ก็มีความหมายเป็นเอกพจน์และพหูพจน์ตามคำที่ตัวเองใช้แทน เช่น The book which on the
table
is mine. หรือ The
book that is
on the table is
mine. ตัวอย่างข้างต้นแยกออกได้เป็น 2
ประโยค ดังนี้
The
book is mine. ( ประโยคหลัก ) It is
on the table.
( adjective
clause ) It ในประโยคที่ 2 แทน the book ซึ่งเป็นสิ่งของอยู่ในประโยคที่
1 และเมื่อนำประโยค adjective clause
ไปรวม ( ขยาย ) ประโยคหลักจึงต้องเปลี่ยน pronoun คือ It
ให้อยู่ในรูป relative pronoun
และ relative pronoun
ที่ใช้กับสิ่งของและเป็นประธานของประโยคได้ มีเพียง
which และ that
จึงได้เป็น which
/ that is on
the table. และเมื่อนำไปขยายคำว่า book
ก็ต้องวางอยู่หลัง book ทันที
Relative
Pronoun ใช้กับสิ่งของ
( เฉพาะ Defining Relative
Clause ) 2. Which / That ( ใช้เป็นกรรม ) Which
และ That ใช้แทนสิ่งของและใช้เป็นกรรมของกริยาในประโยค adjective clause
เหมือนกับ whom, who,
that โดย which
และ that จะวางอยู่หน้าประธานและกริยาของประโยค adjective clause
แต่ทั้ง which และ that
ก็สามารถละได้ในฐานที่เข้าใจได้เช่นกัน เช่น The book which / that I
read last night
wasn’t very good. ประโยคนี้แยกได้เป็น The book
wasn’t very good. ( ประโยคหลัก ) I
read the book ( it ) last
night. ( adjective clause ) ประโยคที่
1
ให้ความหมายไม่ชัดเพราะไม่ทราบว่าหนังสือเล่มไหน ดังนั้นจึงมีประโยค 2
ไปขยาย และ the
book ในประโยคที่ 2
ซ้ำกับประโยคแรก แต่ the
book หรือ it
ในประโยคที่ 2 อยู่ในตำแหน่งกรรมจึงใช้ which / that ทำหน้าที่เป็นกรรมแทน which
ไม่นิยมวางหลัง all, everything,
little, much, none,
or, superlative degree
แต่จะใช้ that แทน
Relative
Pronoun ใช้กับสิ่งของ ( เฉพาะ
Defining Relative Claus ) 3. Which
/ That
( ใช้กับ
preposition ) Preposition ที่มี which / that เป็นกรรม มักจะวางอยู่หน้า which / that มีบางครั้งที่วางอยู่ท้ายกระยาของประโยคหรือจะละไว้ก็ได้เช่นกัน แต่ปัจจุบันมีเพียง which
และ whom เท่านั้นที่นิยมวาง preposition ไว้หน้า นอกนั้นมักจะวาง preposition ไว้ท้ายกริยา เช่น a) The bed was very
comfortable. b) I slept in it last night.
= The bed which
/ that I
slept in last
night was very
comfortable. ( วาง
preposition in ไว้ท้ายกริยา ) หรือ The bed in which
I slept last
night was very
comfortable. (
วาง in ไว้หน้า which ) หรือ The bed
I slept in
last night was
very comfortable ( ละ which
that )
Relative
adverb คือ คำ pronouns จำพวก where,
when และ why
ที่ใช้นำหน้าประโยค adjective clause
ดังนี้ 1. Where
ใช้ในประโยค adjective clause
เมื่อขยายคำถามที่บอกสถานที่ โดยใช้วางไว้หน้าประโยค adjective clause
เช่น The spot where
Lincoln was buried
became a place
of pilgrimage. 2.
When ใช้ในประโยค adjective clause
เมื่อขยายคำนามที่เกี่ยวกับเวลา โดยจะใช้วางไว้ในตำแหน่งเดียวกับ where
เช่น My father
bought this property
in
1996 when land
was very cheap.
3.
Why ใช้นำหน้าประโยค adjective clause
เพื่อแสดงเหตุผลขยายคำนามหลักที่อยู่ในประโยคหลัก เช่น That is the reason why
I insist on
dropping him.
Relative
Pronoun ใช้กับคน (
เฉพาะ non-defining relative
clause ) 1. Who
ใช้เป็นประธานของประโยค
adjective clause โดยจะมี comma
คั่นระหว่างประโยค adjective clause
กับคำนามหลักและคำนามหลักมันจะเป็น proper
noun ที่มีความหมายชัดเจนในตัวเองอยู่แล้ว เช่น Somsak, who prepared
the report, no longer
works for us.
2. Whom และ Who
ใช้เป็นกรรมของประโยค
adjective clause และรูปที่ใช้เป็นทางการ คือ whom โดยใช้แทนบุคคล เช่น His wifte
Solada, whom he
trushed absolutely, turned
out to be
an enemy spy.
This merning I met Amy, whom / who
I nadn’t seed
for ayes.
Relative Pronoun
ใช้กับคน (
เฉพาะ non-defining relative
clause ) 3. Whom
( ใช้เป็นกรรมของ preposition
) มักจะวางไว้หลัง preposition และจะละ whom
ไว้ในฐานที่เข้าใจไม่ได้อีกด้วย แต่สามารถวาง
preposition ไว้หลังกริยาของประโยค adjective clause
ได้ เช่น Michael Chang,
who / whom
I played tennis with
on Sunday, was
fitter than me. หรือ Michael Chang,
with whom I played
tennis on Sunday , was
fitter than me.
4. Whose แสดงความเป็นเจ้าของโดยใช้ whose
+ noun เหมือน defining relative
clause เช่น Ann,
whose
children are at
school all day, is
trying to get
a job.
Relative Pronoun
ใช้กับสิ่งของ (
เฉพาะ non-defining relative
clause ) 1. Which
( เป็นประธานและกรรมของประโยค )
โดยถ้าเป็นประธานจะใช้เหมือน who และถ้าใช้เป็นกรรมจะใช้เหมือน whom
ต่างกัน แต่ which
ใช้แทนสิ่งของ
ส่วน who, whom ใช้แทนคน เช่น The
8.15 train, which is
usually very punctual, was
late today. 2.
Which (
เป็นกรรมของ preposition ) จะเหมือนกับ which
ที่ใช้เป็นกรรมของ preposition ใน defining relative
clause เช่น His
house, which he paid
2,000,000 bath for ,
is now worth
10,000,000 baths. หรือ His
house, for which he
paid 2,000,000 bath, is
now worth 10,000,000
baths.
นอกจากที่กล่าวมายังมีคำที่สามารถใช้นำหน้า relative clause และ clause
อื่น ๆ ได้ด้วยดังนี้
1. Whoever
( เป็น pronoun
) = ผู้ซึ่ง ( the
one who … ), เขาผู้ซึ่ง ( he
who )
หรือหล่อนผู้ซึ่ง ( she who ) whichever ( เป็น
adjective และ pronoun ) ใช้เหมือน
whoever เช่น Whichever of
us gets home
first starts cooking.
2.
Whatever (
เป็น pronoun และ adjective ) whenever และ whenrever ใช้ดังนี้ My
roof leaks when /
whenever it rains.
Go anywhere
/ wherever you like. Eat
whatever you like.
3. whoever, whichever, whatever, whatever, wherever
และ However ใช้ในความหมายว่า “no matter
who” เช่น I
will find her, wherever she
has gone.
All
of / most
of … + whom
/ which ก็เป็นรูปแบบหนึ่งที่จัดอยู่ใน relative clause
เช่นกัน
พิจารณาจากประโยค Mary has
three brothers. All of them
are married. ( 2 ประโยค ) ทำให้ 1
ประโยคได้ว่า Mary has
three brothers, all
of whom are
married. ตัวอย่างที่ 2 They asked
me a lot
of question. I
couldn’t answer most
of them. ( 2 ประโยค ) ทำให้เป็น 1
ประโยค ได้ว่า They
asked me a
lot of questions,
Most of which
I couldn’t answer.
ในทำนองเดียวกันเราสามารถพูด none
of / neither of / any of /either of / some of / many of / much of / ( a ) few of / both of / half of / each of
/ one of / two of / ect. + whom ( คน ) / Which ( สิ่งของ )
( ศ.สุไร พงศ์ทองเจริญ, 2553
: 191 )
การลดรูป adjective clause คำนำหน้า who,
which และ that
ที่ทำหน้าที่เป็นประธานของ
Adjective clause สามารถลดรูปเป็นกลุ่มคำต่าง ๆ
ได้
โดยเมื่อลดแล้วจะกลายเป็นกลุ่มคำนาม
ดังนี้ 1.Appositive
Noun Phrase :
adjective clause ซึ่งมี who,
which และ that
เป็นประธานสามารถลดรูปได้หากหลัง who,
which และ that
มี Be และให้ตัด BE
ออกด้วย
เมื่อลดรูปแล้วจะเป็นกลุ่มคำนามที่เรียกว่า Appositive ดังนี้ Prof.
Chakarin, who is my
thesis adviser will retire
next year. ลดรูปเป็น Prof.
Chakarin, my thesis adviser will
retire next year.
2.Prepositional Phrase
สามารถลดรูปได้หากหลัง
who, which และ that
มีคำกริยาบุพบท
ถ้าตัดคำกริยาออกแล้วเหลือแต่บุพบท
ยังมีความหมายเหมือนเดิมให้ตัดคำกริยาออกได้ เช่น The lady who is dressed
in the national
costume is
a beauty queen.
ลดรูปเป็น The lady
in the national
costume is a
beauty queen . The lady
in the national
costume is a
beauty queen. 3.Infinitive
Phrase สามารถลดรูปได้หากข้างหลังมีกริยาในรูป BE
+ Infinitive with
to เช่น He
is the first
person who is to
be blamed for
the violence yesterday. ลดรูปเป็น He
is the first
person to be
blamed for the
violence yesterday. He
is the first
person to be
blamed for the
violence yesterday.
4.Participial
Phrase แบ่งออกเป็น Present Participial
Phrase และ Past
Participial Phrase ในกรณีที่ลดรูปเป็น Present Participial
Phrase สามารถลดรูปได้หากหลัง who
มีกริยาแท้
ลดรูปโดยตัด who และเปลี่ยนกริยาหลัง who
เป็น present participle
( V.ing ) เช่น The school
students visited the national
museum were
very excited The
school students visiting
the national museum
were very excited
หากลดรูปเป็น Past Participial
Phrase สามารถลดรูปได้หากหลัง which
และ who มีกริยาในรูป Passive form ( Be + past participle ) ลดรูปโดยไม่ตัด which / who และ BE
ออกเหลือแต่ past participle
เช่น The car
stolen is mine. The car
stolen is mine. หรือ The stolen
car is mine.
จากการศึกษาเรื่อง Adjective clause
และการลดรูป Adjective clause
อีกครั้ง
ทำให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น
และสามารถนำเรื่องนี้ไปใช้ในการแปลบทความ
ข้อความต่าง ๆ ได้
เพราะเราสามารถมองประโยคออกว่าส่วนไหนคือประธาน ส่วนไหนคือภาคแสดงอย่างแท้จริง
แม้ประโยคนั้นอาจจะถูกละหรือลดจนทำให้กลายเป็น phrase
ฉะนั้นการศึกษาเรื่องนี้เป็นประโยชน์อย่างมาก โดยเฉพาะประโยคในหนังสือพิมพ์นั้นมีการลดและละคำ ฉะนั้นเราสามารถนำ Adjective clause
มาใช้ได้ในการแปล
หากเรารู้ความเป็นมาของประโยค
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น